|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลแม่กาษา ตั้งอยู่เลขที่ 728 หมู่ 2 ตำบลแม่กาษา อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก อยู่ห่างจากอำเภอแม่สอด 26 กิโลเมตร ไปทางทิศเหนือ ถนนสายแม่สอด - แม่ระมาด เนื้อที่ประมาณ 161.244 ไร่ หรือเท่ากับ 258.93 ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
อำเภอแม่ระมาด |
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ตำบลแม่ปะ |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ตำบลพะวอ |
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า |
|
|
อำเภอแม่ระมาด |
สาธารณรัฐสังคมนิยม แห่งสหภาพพม่า |
|
ตำบลพะวอ |
ตำบลแม่ปะ |
|
|
|
|
|
ลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื้น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี 3 ฤดู ดังนี้ |

 |
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึง กลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแล้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บางครั้งเกิดภายุฝนฟ้าคะนอง และลมกระโชกแรงก่อให้เกิดความเสียหาย แก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิ ระหว่าง 35 - 39 องศาเซลเซียส ร้อนจัดมีอุณหภูมิประมาณ 40 องศาเซลเซียสขึ้นไป |
|
|

 |
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม - ตุลาคม แต่อาจเกิด “ฝนทิ้งช่วง ” ซึ่งอาจนานประมาณ 1-2 สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือน กรกฏาคม ตำบลแม่กาษาเกิดอุทกภัยแล้งทุกปี น้ำใช้อุปโภคบริโภค และน้ำใช้ในภาคการเกษตรไม่เพียงพอ มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 500 มิลลิเมตร |

 |
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคม ในช่วงเช้าอาจมีอากาศเย็น 1-2 สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง อากาศหนาวอุณหภูมิต่ำสุด ประมาณ 10 องศา |
|
|
|
|
|
|
|

 |
การเกษตร ในปัจจุบันประชากรตำบลแม่กาษาส่วนใหญ่ ประกอบอำชีพทางการเกษตรผลผลิต ทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ การทำนา ทำไร่ ทำสวน นอกจากนี้ ยังประกอบอำชีพ ค้าขายและรับจ้างทั่วไป |
|

 |
อาชีพเกษตรกรรม |
ร้อยละ 22.66 ของจำนวนประชากรทั้งหมด |
|

 |
อาชีพเลี้ยงสัตว์ |
ร้อยละ 2.75 ของจำนวนประชากรทั้งหมด |
|
|
|
|

 |
อาชีพรับจ้าง |
ร้อยละ 8 ของจำนวนประชากรทั้งหมด |
|

 |
อาชีพค้าขาย |
ร้อยละ 9 ของจำนวนประชากรทั้งหมด |

 |
การประมง มีการเลี้ยงเป็นกลุ่มสัตว์น้ำจืดแบบยังชีพ พันธุ์ประเภท ปลานิล ปลายี่สกไทย ปลาไน ปลานวลจันทร์เทศ ปลาตะเพียน ปลาแรด ปลาทับทิม ปลาดุก โดยเลี้ยงในบ่อดิน |

 |
ปศุสัตว์ เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือน เป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม เช่น การเลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร กระบือ |
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 8,630 คน แยกเป็น |

 |
ชาย 4,269 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.47 |

 |
หญิง 4,36 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.53 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,752 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 33.33 คน/ตร.กม. |
|
|
|
|
|
หมู่ที่ |
ชื่อชุมชน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
1 |
บ้านแม่กื้ดหลวง |
265 |
254 |
519 |
157 |
2 |
บ้านแม่กาษา |
298 |
295 |
593 |
192 |
3 |
บ้านแม่กื้ดใหม่ |
245 |
266 |
511 |
157 |
4 |
บ้านโกกโก่ |
186 |
168 |
354 |
137 |
5 |
บ้านแม่กื้ดสามท่า |
316 |
288 |
604 |
198 |
6 |
บ้านน้ำดิบ |
250 |
260 |
510 |
168 |
7 |
บ้านห้วยบง |
110 |
115 |
225 |
63 |
8 |
บ้านแม่กื้ดสามท่าใหม่ |
233 |
250 |
483 |
139 |
9 |
บ้านไทยสามัคคี |
427 |
450 |
877 |
308 |
10 |
บ้านใหม่ริมเมย |
516 |
521 |
1,037 |
313 |
11 |
บ้านโพธิ์ทอง |
251 |
233 |
484 |
132 |
12 |
บ้านแม่กื้ดใหม่พัฒนา |
310 |
313 |
623 |
200 |
13 |
บ้านแม่กาษาใหม่ไหล่ท่า |
151 |
167 |
318 |
117 |
14 |
บ้านแม่กาษาโพธิ์เงิน |
252 |
311 |
563 |
189 |
15 |
บ้านแม่กื้ดใหม่ดอนสว่าง |
262 |
245 |
507 |
159 |
16 |
บ้านแม่กาษานุสรณ์ |
197 |
225 |
422 |
123 |
|
รวม |
4,269 |
4,361 |
8,630 |
2,752 |
|
|
|
|
|
|
|

 |
การนับถือศาสนา |
|

 |
ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ |
ร้อยละ 99.92 |
|

 |
ผู้นับถือศาสนาคริสต์ |
ร้อยละ 0.08 |

 |
วัด จำนวน 11 แห่ง |
|

 |
วัดมาตานุสรณ์ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |
|

 |
วัดมงคลนิมิต |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 |
|

 |
วัดแม่กื้ดสามท่า |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 |
|
|
|
|

 |
วัดดอยโตน |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 |
|

 |
วัดบ้านน้ำดิบ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 |
|

 |
วัดศรีรัตนาราม |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 |
|

 |
วัดไทยสามัคคี |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 |
|

 |
วัดบ้านแม่กาษา |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 |
|

 |
วัดบ้านโกกโก่ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 |
|

 |
วัดห้วยบงวนาราม |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 |
|

 |
วัดแม่กื้ดใหม่ดอนสว่าง |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 15 |

 |
สำนักสงฆ์ จำนวน 2 แห่ง |
|

 |
สำนักสงฆ์วัดเขาถ้ำโพธิ์ทอง |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 |
|

 |
ที่พักสงฆ์วิมุตติญาณ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 |
|
|
|
|
|
|
|
การศึกษา ในพื้นที่ตำบลแม่กาษามีสถานศึกษาทั้งหมด จำนวน 12 แห่ง โดยแบ่งออกเป็น |

 |
ระดับเด็กเล็กก่อนวัยเรียน มีสถานศึกษาก่อนวัยเรียนจำนวน 8 แห่ง |
|

 |
โรงเรียนอนุบาลแม่กาษา |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแม่กื้ดใหม่ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโกกโก่ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแม่กื้ดสามท่า |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 |
|
|
|
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแม่กื้ดสามท่าใหม่ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแม่กื้ดหลวง |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแม่กาษา |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 |

 |
ระดับประถมศึกษา มีโรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง |
|

 |
โรงเรียนแม่กาษา |
|
|

 |
โรงเรียนแม่กื้ดสามท่า |
|
|

 |
โรงเรียนบ้านน้ำดิบ |
|
|

 |
โรงเรียนแม่กื้ดหลวงกัญไชยมิตรภาพที่ 182 |
|
|
|
|
|
|
การให้บริการทางด้านสาธารณสุขในตำบลแม่กาษา ประกอบด้วย |

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่กื้ดหลวง |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโกกโก่ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 |

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแม่กื้ดสามท่า |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 |

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแม่กาษา |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 |

 |
ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน มี จำนวน 16 แห่ง |
|
|
|
|
|

 |
ป้อมบริการประชาชน 409 (สภ.อ.แม่สอด) |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
ที่ทำการกำนัน |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน |
จำนวน |
15 |
แห่ง |

 |
ชุดเฝ้าตรวจชายแดน ร้อย ตชด. 346 (บ้านแม่กื้ดสามท่าใหม่) |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
กู้ชีพกู้ภัยตำบลแม่กาษา |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|

 |
งานประเพณีสงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน |

 |
แห่เทียนจำนำพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม พฤศจิกายน |

 |
ประเพณีสลากภัต ประมาณเดือน ตุลาคม |

 |
ประเพณีบุญบั้งไฟ ประมาณเดือน เมษายน |

 |
ประเพณีสืบชะตาป่า ประมาณเดือน มิถุนายน |

 |
ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ประมาณเดือน กันยายน ตุลาคม |

 |
ประเพณีเลี้ยงศาลเจ้าประจำหมู่บ้าน ประมาณเดือน กุมภาพันธ์ (เดือน 5 เหนือ) มิถุนายน (เดือน 9 เหนือ) |
|
|
|
|
|
|
เส้นทางคมนาคมทางบกมีถนนสายหลักคือ สายแม่สอด - แม่ระมาด เลี้ยวเข้าถนนหมายเลข ดกค 1 - 0027 สู่สำนักงาน อบต.แม่กาษา โดยมีรถโดยสารประจำทางแม่สอด - แม่กาษา วิ่งผ่านช่วงเวลา 06.00 น. - 12.00 น. ประชาชนส่วนมากเดินทางโดยรถจักรยานยนต์/ รถยนต์เป็นพาหนะในการเดินทาง, รถโดยสารประจำทางสายแม่สอด - แม่กาษา, รถยนต์ส่วนบุคคล, รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล, รถจักรยานยนต์รับจ้าง, รถจักรยานยนต์รับจ้าง |
|
|
|
|
มีแหล่งน้ำที่ใช้สำหรับ อุปโภค - บริโภค ทั้งที่เกิดตามธรรมชาติ และกรมชลประทานได้ดำเนินการก่อสร้างขึ้นใหม่ เพื่อให้ประชาชนมีน้ำใช้เพียงพอกับการอุปโภค และบริโภคของประชาชน ได้แก่ ห้วยแม่กื้ด, ห้วยขนุน, ห้วยเสือ, แม่น้ำแม่ละเมา, แม่น้ำเมย, ลำห้วยห้วยบง, เขื่อนทดน้ำโกกโก่ |
|
|
|
|
|

 |
ภูเขา ในเขตตำบลแม่กาษา ลักษณะพื้นที่ของตำบลแม่กาษา โดยทั่วไปเป็นเทือกเขา แนวทอดตัวของภูเขาที่ล้อมรอบด้วยพื้นที่ต่ำ หรือถูกแบ่งแยกออกจากภูเขาอื่นๆ ด้วยหุบเขาหรือแม่น้ำ ภูเขาแต่ละลูกที่อยู่ในเทือกเขาเดียวกันไม่จำเป็นต้องมีลักษณะทางธรณีวิทยาที่เหมือนกัน ซึ่งอาจเกิดจากการก่อเทือกเขา สูงและล้อมรอบด้วยภูเขาสลับซับซ้อน ลดหลั่นเรียงรายมี |
|
|
|
|
การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะ ยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้น ยังไม่เป็นที่สาธารณะ องค์การบริหารส่วนตำบลแม่กาษา จึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทั้งนี้องค์การบริหารส่วนตำบลแม่กาษา ก็ได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว |
|
|
และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผล เพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน ปัจจุบันในตำบลแม่กาษามีไฟฟ้าใช้ ดังนี้ |

 |
จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้าจำนวน 2,752 หลังคาเรือน |

 |
ไฟฟ้าสาธารณะ จำนวน 188 จุด ไม่ครอบคลุมถนนทุกสายในตำบลแม่กาษา |
|
|
|
|
|

 |
ระบบการสื่อสาร |
|

 |
ในตำบลแม่กาษา มีการสื่อสารที่สำคัญได้แก่ ทางโทรศัพท์บ้านและโทรศัพท์เคลื่อนที่ และมีเครือข่ายของโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ AIS, DTAC, True, 3 BB, อินเตอร์เน็ตชุมชน |

 |
ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่งและวัสดุครุภัณฑ์ |
|

 |
ที่ทำการไปรษณีย์ตำบล จำนวน 1 แห่ง |
|

 |
หอกระจายเสียงตามสาย จำนวน 16 แห่ง |
|
|
|
|
|

 |
บ่อน้ำพุร้อนแม่กาษา หมู่ที่ 11 ตำบลแม่กาษา |

 |
น้ำตกแม่กาษา หมู่ที่ 2 ตำบลแม่กาษา |

 |
ถ้ำแม่อุษา หมู่ที่ 11 ตำบลแม่กาษา |

 |
ห้วยแม่ละเมา หมู่ที่ 2 ตำบลแม่กาษา |

 |
สำนักสงฆ์โพธิ์ทอง หมู่ที่ 11 ตำบลแม่กาษา |

 |
วัดมาตานุสรณ์ หมู่ที่ 1 ตำบลแม่กาษา |

 |
บ่อพุน้ำร้อนบ้านน้ำดิบ (บ่อโคลน) หมู่ที่ 6 ตำบลแม่กาษา |

 |
น้ำตกตาด หมู่ที่ 12 ตำบลแม่กาษา |

 |
ท่าน้ำแม่ละเมา หมู่ที่ 5 ตำบลแม่กาษา |

 |
วัดไทยสามัคคี หมู่ที่ 12 ตำบลแม่กาษา |
|
|
|
|
|
|
การประปา ในตำบลแม่กาษา มีประปาหมู่บ้านเอง สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ และมีน้ำใช้ตลอดทั้งปี ปัญหาคือ มีข้อร้องเรียนเรื่องน้ำประปาขุ่นบ่อยครั้ง สาเหตุเนื่องจากเป็นท่อประปาเก่าเกิดการตกตะกอนของน้ำ และไม่มีแหล่งน้ำดิบในการผลิตประปา ต้องขอใช้จากพื้นที่อื่นทำให้มีค่าใช้จ่ายมาก ต้องใช้งบประมาณสูงมากในการดำเนินการ ปัจจุบัน อบต.ยังประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำน้ำดิบ สำหรับผลิตประปาให้ชุมชนได้ การแก้ปัญหาคือ การลงพื้นที่ดำเนินการแก้ไขตามจุดที่เกิดปัญหาในทันที |
|
|
การพิจารณาโครงการต่างๆ ที่ไม่สามารถดำเนินการได้นั้น เช่น โครงการก่อสร้างโรงสูบจ่ายสารเคมี และเก็บสารเคมีการประปา ฯลฯ อบต. ก็ได้นำบรรจุในแผนพัฒนาสี่ปี เพื่อที่จะพิจารณาดำเนินการในปีต่อไป เมื่อมีงบประมาณ และความจำเป็นก็สามารถดำเนินโครงการได้ต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนต่อไป ปัจจุบันประชาชนมีประปาใช้ ดังนี้ |

 |
จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปาจำนวน 2,335 หลังคาเรือน |

 |
ปริมาณการใช้น้ำประปาเฉลี่ย 500 - 550 ลบ.ม. ต่อวัน |

 |
แหล่งน้ำดิบที่ใช้ผลิตน้ำประปาได้จาก แม่น้ำ, น้ำภูเขา, บ่อน้ำตื้น, สระน้ำหนองใหญ่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|

 |
การบริการ |
|

 |
บริการเสริมสวย |
จำนวน |
12 |
แห่ง |
|

 |
บริการซ่อม |
จำนวน |
13 |
แห่ง |
|
|

 |
อุตสาหกรรม |
|

 |
โรงสีข้าว |
|
|

 |
บริษัทไทยวา มหาชน จำกัด |
หมู่ที่ 8 |
|

 |
บริษัทแม่ลออ ผลิตน้ำมันปาร์ม, ยางพารา, ข้าวสาร |
หมู่ที่ 8 |
|

 |
หจก.น้ำแข็งธารา ผลิตน้ำแข็ง, โรงน้ำดื่มไฮคราส |
หมู่ที่ 2 |
|

 |
ไชโลข้าวโพด หจก.เอนกธัญกิจ |
หมู่ที่ 1 |
|

 |
โรงงานโอเมก้า |
หมู่ที่ 9 |
|

 |
เครือสหพัฒน์ |
หมู่ที่ 15 |
|

 |
แพ้นปูนซีแพค 5 แยก |
หมู่ที่ 15 |
|

 |
แม่ปะรีไชเคิล |
หมู่ที่ 9 |
|

 |
โรงงานแอลฟ่า |
หมู่ที่ 9 |
|

 |
ไชโลข้าวโพด หจก.ชัยอนัน |
หมู่ที่ 1 |
|

 |
ท่าทราย |
|

 |
การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ |
|
พาณิชยกรรมในเขตตำบลแม่กาษา เป็นกิจการค้าปลีก สินค้าต่างๆ ได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้า เสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่ม เครื่องยนต์การเกษตร พันธุ์พืชและวัสดุการเกษตร สถานประกอบอาหาร และสินค้าอุปโภคบริโภค จำแนกประเภทกิจการต่างๆ ได้ดังนี้ |
|

 |
สถานีบริการน้ำมัน |
จำนวน |
3 |
แห่ง |
|

 |
ร้านขายของเบ็ดเตล็ด |
จำนวน |
11 |
แห่ง |
|

 |
ร้านขายอาหาร |
จำนวน |
43 |
แห่ง |
|
มีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ จำนวน 12 กลุ่ม ได้แก่ |
|

 |
กลุ่มต้นไม้หยก |
|

 |
กลุ่มทำดอกไม้จันทน์ |
|

 |
กลุ่มทำบ้านน้อย |
|

 |
กลุ่มหัตถกรรมจักรสาน |
|

 |
กลุ่มถ่านอัดแท่ง |
|

 |
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนไม้กวาดดอกหญ้า |
|

 |
กลุ่มสตรีตัดเย็บเสื้อผ้า |
|

 |
กลุ่มเกษตรอินทร์ |
|

 |
กลุ่มจัดทำดอกไม้บายศรี |
|

 |
กลุ่มร้านค้าประชารัฐชุมชนดอนสว่างร่วมใจ |
|
|